รายละเอียดของรายวิชา 01206621 การหาค่าเหมาะที่สุดขั้นสูง
ชื่อสถาบันอุดมศึกษา: มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์
วิทยาลัย/คณะ/ภาควิชา: คณะวิศวกรรมศาสตร์
หมวดที่ 1. ข้อมูลทั่วไป
1. รหัสและชื่อรายวิชา: 01206621 การหาค่าเหมาะที่สุดขั้นสูง (Advanced Optimization)
2. จำนวนหน่วยกิต: 3(3-0-6)
3. หลักสูตรและประเภทของรายวิชา: หลักสูตร: วิศวกรรมศาสตรดุษฎีบัณฑิต สาขาวิชาวิศวกรรมอุตสาหการ 2559 ประเภทของวิชา: วิชาเอกเลือก
4. อาจารย์ผู้รับผิดชอบรายวิชาและอาจารย์ผู้สอน รศ.ดร.พีรยุทธ์ ชาญเศรษฐิกุล
5. ภาคการศึกษา: ภาคต้น ปีการศึกษา 2559
6. รายวิชาที่ต้องเรียนมาก่อน ไม่มี
7. รายวิชาที่ต้องเรียนพร้อมกัน ไม่มี
8. สถานที่เรียน: คณะวิศวกรรมศาสตร์
9. วันที่จัดทำหรือปรับปรุงรายละเอียดของรายวิชาครั้งล่าสุด: 7 สิงหาคม 2559
หมวดที่ 2. จุดมุ่งหมายและวัตถุประสงค์
1. จุดมุ่งหมายและวัตถุประสงค์ This course is aimed to introduce some advanced computational technique related to solving special structural large scale optimization problems. Students will learn the current state of the art optimization software in both linear and non-linear cases. Then more complex models leading to unsolved cases using those software will be introduced and solved using some special purpose algorithms handling encountered difficulties. At the end, each student is expected to submit a report of developing and solving processes of a specific structural problem.
2. วัตถุประสงค์ในการพัฒนา/ปรับปรุงรายวิชา Developments and changes in revising the subject are mostly due to related hardware/software capabilities. The complex/difficult/tedious problems in the present time may just be simple problem/cases in the next few years due to those developments. Therefore, follow-up process on the current status of computational methods is needed periodically leading to the content concentration being revised in the course detail.
หมวดที่ 3. ลักษณะและการดำเนินการ
1. คำอธิบายรายวิชา เทคนิคเชิงตัวเลขสำหรับการหาค่าเหมาะที่สุดขนาดใหญ่ทั้งแบบไม่ต่อเนื่องและต่อเนื่องหลักการแบ่งส่วนและตัดแบ่ง การหาค่าเหมาะที่สุดเชิงสโตแคสติกและพลวัตการหาค่าเหมาะที่สุดในมิติอนันต์ การประยุกต์การหาค่าเหมาะที่สุดในการออกแบบทางวิศวกรรม Numerical techniques for large scale discrete and continuous optimizations, decomposition and partitioning principles, dynamic and stochastic optimization, infinite dimensional optimization, applied optimization in engineering designs.
2. จำนวนชั่วโมงที่ใช้ต่อภาคการศึกษา บรรยาย สอนเสริม การฝึกปฏิบัติ/งานภาคสนาม/การฝึกงาน การศึกษาด้วยตนเอง 45 0 0 90
3. จำนวนชั่วโมงต่อสัปดาห์ที่อาจารย์ให้คำปรึกษาและแนะนำทางวิชาการแก่นิสิตเป็นรายบุคคล จำนวนชั่วโมง: 3 ชั่วโมง
วิธีการติดต่อสื่อสาร: By appointment or email (fengprc@ku.ac.th) or facebook (Peerayuth Charnsethikul)
หมวดที่ 4. การพัฒนาผลการเรียนรู้ของนิสิต
1. คุณธรรม จริยธรรม
1.1 คุณธรรม จริยธรรมที่ต้องพัฒนา มีภาวะผู้นำ ริเริ่ม ส่งเสริมด้านการประพฤติปฎิบัติโดยใช้หลักการเหตุผลและค่านิยมอันดีงาม มีความสามารถในการวินิจฉัยและจัดการปัญหาซับซ้อน ข้อโต้แย้ง-และข้อบกพร่องทางจรรยาบรรณ โดยคำนึงถึงความรู้สึกของผู้อื่น
1.2 วิธีการสอน สอดแทรกเนื้อหาทางด้านคุณธรรม จริยธรรม ตามโอกาสอันควร จัดให้มีกรณีศึกษา จัดให้มีการทำงานเป็นกลุ่ม
1.3 วิธีการประเมินผล ประเมินการมีส่วนร่วมในชั้นเรียน ประเมินจากการทำงานกลุ่ม จำลองสถานการณ์ สังเกตพฤติกรรมของนิสิตโดยรวมและรายบุคคล
2. ความรู้
2.1 ความรู้ที่ต้องพัฒนา มีความรู้ ความเข้าใจอย่างถ่องแท้และลึกซื้งในหลักการ ทฤษฎี และเทคนิคการวิจัย ที่เป็นแก่นในสาขาวิชา
2.2 วิธีการสอน การบรรยาย การให้กรณีศึกษา การสาธิต การทำวิจัย ค้นคว้า โครงงาน ให้การบ้าน แบบฝึกหัด ฝึกปฏิบัติ ใช้แบบจำลอง เกม ในการสอน ให้นิสิตอภิปราย ระดมสมอง
2.3 วิธีการประเมินผล สอบข้อเขียน แบบฝึกหัด การบ้าน ทำรายงาน ประกวดแข่งขันผลงาน สังเกตพฤติกรรมของนิสิต ประเมินโดยนิสิตร่วมชั้น ประเมินจากการพัฒนาโครงงานเดี่ยว
3. ทักษะทางปัญญา
3.1 ทักษะทางปัญญาที่ต้องพัฒนา สามารถคิดวิเคราะห์ประเด็นปัญหาอย่างสร้างสรรค์ สามารถสังเคราะห์และบูรณาการองค์ความรู้ทั้งภายในและภายนอกสาขาวิชาเพื่อออกแบบและทำโครงการวิจัยเกี่ยวกับการพัฒนาองค์ความรู้ใหม่
3.2 วิธีการสอน มีการทำโครงงานที่ต้องใช้ความรู้ที่เรียนทั้งหมดมาประกอบ มีการทำวิจัย ค้นคว้า ทำรายงานในเรื่องที่ศึกษา มีการจัดประกวด แข่งขัน ผลงาน ให้กรณีศึกษา กำหนดโจทย์การบ้าน
3.3 วิธีการประเมินผล สอบข้อเขียน แบบฝึกหัด การบ้าน ทำรายงาน ประกวดแข่งขันผลงาน สังเกตพฤติกรรมของนิสิต ประเมินโดยนิสิตร่วมชั้น ประเมินจากการพัฒนาโครงงานเดี่ยว
4. ทักษะความสัมพันธ์ระหว่างบุคคลและความรับผิดชอบ
4.1 ทักษะความสัมพันธ์ระหว่างบุคคลและความรับผิดชอบที่ต้องพัฒนา มีความรับผิดชอบ มีความมุ่งมั่นในการพัฒนาตนเองอย่างต่อเนื่องโดยมีการประเมินการวางแผนและปรับปรุงตนเอง
4.2 วิธีการสอน ให้การบ้าน แบบฝึกหัด มีการให้นิสิตนำเสนองาน
4.3 วิธีการประเมินผล การนำเสนอผลงาน เช็คการตรงเวลาและความครบถ้วนในการส่งงานการบ้าน ประเมินจากการพัฒนาโครงงานกลุ่ม
5. ทักษะวิเคราะห์เชิงตัวเลข การสื่อสาร และการใช้เทคโนโลยีสารสนเทศ
5.1 ทักษะวิเคราะห์เชิงตัวเลข การสื่อสาร และการใช้เทคโนโลยีสารสนเทศที่ต้องพัฒนา สามารถคัดกรองข้อมูลทางคณิตศาสตร์และสถิติมาใช้แก้ไขปัญหาอย่างเจาะลึกในสาขาวิชา สามารถใช้เทคโนโลยีสารสนเทศเพื่อการสื่อสารได้อย่างเหมาะสม
5.2 วิธีการสอน ให้โจทย์การบ้านที่ต้องใช้การวิเคราะห์เชิงตัวเลข สอดแทรกเนื้อหาการแก้ปัญหาโดยใช้โปรแกรมคำนวณ สอนให้รู้จักการใช้ทรัพยากรการเรียนรู้จากอินเตอร์เนท สอดแทรกพื้นฐานทางสถิติและการวิเคราะห์ข้อมูลเบื้องต้น
5.3 วิธีการประเมินผล ตรวจสอบหลักการคิดวิเคราะห์และการโปรแกรมคอมพิวเตอร์จากงานที่ได้มอบหมาย ให้มีการนำเสนอแหล่งความรู้ต่างๆจากอินเทอร์เน็ต มีการสอบปฏิบัติการจริงโดยการใช้คอมพิวเตอร์แก้ปัญหา ให้มีการทำรายงานและการนำเสนอโดยใช้สื่อประสม
หมวดที่ 5. แผนการสอนและการประเมินผล
1. แผนการสอน สัปดาห์ / ครั้งที่ หัวข้อ/รายละเอียด
1 Too large linear programming (LP) models and applications 3 lecture and computer Peerayuth
2 LP with too many variables: The column generation procedure 3 lecture and computer Peerayuth
3 LP with too many variables: The cutting stock problem 3 lecture and computer Peerayuth
4 LP with too many variables: The personnel scheduling problem 3 lecture and computer Peerayuth
5 LP under uncertainties: The two stage approach of stochastic LP 3 lecture and computer Peerayuth
6 LP under uncertainties: Benders decomposition 3 lecture and computer Peerayuth
7 LP under uncertainties: Benders decomposition: The stochastic diet problem 3 lecture and computer Peerayuth
8 LP under uncertainties: Benders decomposition: The production planning with stochastic discrete time varying demands 3 lecture and computer Peerayuth
9 LP with too many variables under uncertainties: The hybrid approach between the column generation technique and Benders decomposition 3 lecture and computer Peerayuth
10 LP with too many variables under uncertainties: The cutting stock problem with stochastic discrete time varying demands 3 lecture and computer Peerayuth
11 LP with too many constraints and variables: Dantzig-Wolfe decomposition 3 lecture and computer Peerayuth
12 LP with too many constraints and variables: The large scale Markov chain fitting with minimum sum of absolute deviation 3 lecture and computer Peerayuth
13 Linear Complementary Problem with too many constraints and variables: The simultaneous row-column generation approach 3 lecture and computer Peerayuth
14 Linear Complementary Problem with too many constraints and variables: Too large quadratic programming 3 lecture and computer Peerayuth
15 Linear Complementary Problem with too many constraints and variables: The large scale Markov chain fitting with minimum sum squared error 3 lecture and computer Peerayuth
2. แผนการประเมินผลการเรียนรู้
2.1 ผลการเรียนรู้และวิธีการประเมิน หมายเหตุ: สัปดาห์และสัดส่วนของกิจกรรมการประเมินต่าง ๆ แสดงในส่วน
2.2 รายละเอียดกิจกรรมการประเมิน
ผลการเรียนรู้ วิธีการประเมิน คุณธรรม จริยธรรม
1 มีความสามารถในการวินิจฉัยและจัดการปัญหาซับซ้อน ข้อโต้แย้ง-และข้อบกพร่องทางจรรยาบรรณ โดยคำนึงถึงความรู้สึกของผู้อื่น - ประเมินการมีส่วนร่วมในชั้นเรียน - จำลองสถานการณ์ สังเกตพฤติกรรมของนิสิตโดยรวมและรายบุคคล
2 มีภาวะผู้นำ ริเริ่ม ส่งเสริมด้านการประพฤติปฎิบัติโดยใช้หลักการเหตุผลและค่านิยมอันดีงาม - ประเมินจากการทำงานกลุ่ม
ความรู้
1 มีความรู้ ความเข้าใจอย่างถ่องแท้และลึกซื้งในหลักการ ทฤษฎี และเทคนิคการวิจัย ที่เป็นแก่นในสาขาวิชา - สอบข้อเขียน - ประกวดแข่งขันผลงาน - ประเมินจากการพัฒนาโครงงานเดี่ยว
ทักษะทางปัญญา
1 สามารถสังเคราะห์และบูรณาการองค์ความรู้ทั้งภายในและภายนอกสาขาวิชาเพื่อออกแบบและทำโครงการวิจัยเกี่ยวกับการพัฒนาองค์ความรู้ใหม่ - แบบฝึกหัด การบ้าน ทำรายงาน - ประกวดแข่งขันผลงาน
2 สามารถคิดวิเคราะห์ประเด็นปัญหาอย่างสร้างสรรค์ - สอบข้อเขียน - ประกวดแข่งขันผลงาน - สังเกตพฤติกรรมของนิสิต - ประเมินโดยนิสิตร่วมชั้น - ประเมินจากการพัฒนาโครงงานเดี่ยว
ทักษะความสัมพันธ์ระหว่างบุคคลและความรับผิดชอบ
1 มีความรับผิดชอบ มีความมุ่งมั่นในการพัฒนาตนเองอย่างต่อเนื่องโดยมีการประเมินการวางแผนและปรับปรุงตนเอง - การนำเสนอผลงาน - เช็คการตรงเวลาและความครบถ้วนในการส่งงานการบ้าน - ประเมินจากการพัฒนาโครงงานกลุ่ม
ทักษะวิเคราะห์เชิงตัวเลข การสื่อสาร และการใช้เทคโนโลยีสารสนเทศ
1 สามารถใช้เทคโนโลยีสารสนเทศเพื่อการสื่อสารได้อย่างเหมาะสม - ตรวจสอบหลักการคิดวิเคราะห์และการโปรแกรมคอมพิวเตอร์จากงานที่ได้มอบหมาย - ให้มีการนำเสนอแหล่งความรู้ต่างๆจากอินเทอร์เน็ต - มีการสอบปฏิบัติการจริงโดยการใช้คอมพิวเตอร์แก้ปัญหา - ให้มีการทำรายงานและการนำเสนอโดยใช้สื่อประสม
2 สามารถคัดกรองข้อมูลทางคณิตศาสตร์และสถิติมาใช้แก้ไขปัญหาอย่างเจาะลึกในสาขาวิชา - ตรวจสอบหลักการคิดวิเคราะห์และการโปรแกรมคอมพิวเตอร์จากงานที่ได้มอบหมาย - มีการสอบปฏิบัติการจริงโดยการใช้คอมพิวเตอร์แก้ปัญหา
2.2 รายละเอียดกิจกรรมการประเมิน กิจกรรมการประเมิน สัปดาห์ที่ประเมิน สัดส่วนของการประเมินผล สอบข้อเขียน สัปดาห์สอบ 50 แบบฝึกหัด การบ้าน ทำรายงาน ทุกสัปดาห์ 30 การนำเสนอผลงาน สัปดาห์เว้นสัปดาห์ 0 ประเมินการมีส่วนร่วมในชั้นเรียน ทุกสัปดาห์ 0 ประเมินจากการทำงานกลุ่ม ทุกสัปดาห์ 0 จำลองสถานการณ์ สังเกตพฤติกรรมของนิสิตโดยรวมและรายบุคคล ทุกสัปดาห์ 0 ประกวดแข่งขันผลงาน สัปดาห์สอบ 20 สังเกตพฤติกรรมของนิสิต ทุกสัปดาห์ 0 ประเมินโดยนิสิตร่วมชั้น สัปดาห์สอบปลายภาค 0 เช็คการตรงเวลาและความครบถ้วนในการส่งงานการบ้าน ทุกสัปดาห์ 0 ตรวจสอบหลักการคิดวิเคราะห์และการโปรแกรมคอมพิวเตอร์จากงานที่ได้มอบหมาย ทุกสัปดาห์ 0 ให้มีการนำเสนอแหล่งความรู้ต่างๆจากอินเทอร์เน็ต ทุกสัปดาห์ 0 มีการสอบปฏิบัติการจริงโดยการใช้คอมพิวเตอร์แก้ปัญหา สัปดาห์สอบ 0 ให้มีการทำรายงานและการนำเสนอโดยใช้สื่อประสม สัปดาห์สอบ 0 ประเมินจากการพัฒนาโครงงานเดี่ยว สัปดาห์สอบ 0 ประเมินจากการพัฒนาโครงงานกลุ่ม สัปดาห์สอบ 0
หมวดที่ 6. ทรัพยากรประกอบการเรียนการสอน
1. ตำราและเอกสารหลัก https://books.google.co.th/books?id=aAdnufdr7F0C&redir_esc=y
2. เอกสารและข้อมูลสำคัญ สื่ออิเล็กทรอนิกส์: https://dl.dropboxusercontent.com/u/47649626/Too%20Large%20Linear%20Programming%20Problems_asimmod_2015.pptx
โปรแกรมคอมพิวเตอร์: https://dl.dropboxusercontent.com/u/47649626/OpenSolver21.zip
เว็บไซต์: https://www.researchgate.net/profile/Peerayuth_Charnsethikul/contributions
3. เอกสารและข้อมูลแนะนำ ไม่มี
หมวดที่ 7. การประเมินและปรับปรุงการดำเนินการของรายวิชา
1. กลยุทธ์การประเมินผลรายวิชาโดยนิสิต การสนทนากลุ่มระหว่างอาจารย์กับนิสิต แบบประเมินอาจารย์และแบบประเมินรายวิชา
2. กลยุทธ์การประเมินการสอน ผลการสอบ/การเรียนรู้ การทวนสอบผลการประเมินการเรียนรู้
3. การปรับปรุงการสอน สัมมนา ประชุมปฏิบัติการการจัดการเรียนการสอน
4. การทวนสอบมาตรฐานผลสัมฤทธิ์ของนิสิตในรายวิชา มีคณะกรรมการในสาขาวิชาตรวจสอบการประเมินการเรียนรู้ของนิสิต
5. การดำเนินการทบทวนและการวางแผนปรับปรุงประสิทธิผลของรายวิชา ปรับปรุงรายวิชาทุก 3 ปี ตามข้อเสนอแนะและผลจากการทวนสอบมาตรฐานผลสัมฤทธิ์
วันที่จัดทำรายงาน 7 สิงหาคม 2559